Tunjukkan penerbitan mudah

Share 
 
dc.contributor.authorศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, สำนักงานฝ่ายฝึกอบรมth
dc.date.accessioned2018-02-09T03:07:07Z
dc.date.available2018-02-09T03:07:07Z
dc.date.issued2007
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/148
dc.description.abstractประเทศกำลังพัฒนาในปัจจุบันประสบกับปัญหาการใช้ทรัพยากรชายฝั่งเกินศักยภาพการผลิต ซึ่งมีสาเหตุปัจจัยหลายประการด้วยกัน ดังนั้นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการทำประมงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงเป็นสิ่งจำเป็นเร่งด่วนสำหรับสถานการณ์เช่นนี้ ซึ่งจะเป็นส่วนช่วยในการลดการลงแรงการทำประมง ลดความขัดแย้งระหว่างการทำประมงชนิดต่างๆ ในบริเวณใกล้เคียงกัน ลดการสิ้นเปลืองพลังงาน เพิ่มมูลค่าของสัตว์น้ำ เพื่อเพิ่มราคาของสัตว์น้ำและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การร่วมมือร่วมแรงกันระหว่างกลุ่มชาวประมงในท้องถิ่น เป็นปัจจัยสำคัญในการพัฒนาจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง อย่างยั่งยืน เครื่องมือประมงโป๊ะเชือกได้ถูกพิจารณาเพื่อนำมาประยุกต์ใช้อีกครั้ง และแนะนำให้ใช้กับพื้นที่ทำการประมงในบริเวณชายฝั่ง ทั้งนี้เพื่อช่วยในการอนุรักษ์ทรัพยากรประมงชายฝั่งและเป็นวิธีการทำประมงที่ประหยัดพลังงานอีกด้วย โครงการนี้ได้เริ่มดำเนินการ ณ บริเวณนอกชายฝั่งหาดแม่รำพึง จังหวัดระยอง ในปี พ.ศ. 2546en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectโป๊ะเชือกen
dc.subjectการจัดการประมงชายฝั่งen
dc.subjectการจัดการประมงชายฝั่งอย่างยั่งยืนen
dc.subjectSEAFDECen
dc.titleโป๊ะเชือก เครื่องมือประมงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการประมงชายฝั่งอย่างยั่งยืนth
dc.typeOtheren


Fail dalam item ini

FailSaizFormatLihat
SEAFDEC_2007_SetNet.pdf1.663Mbapplication/pdfLihat/Open

Penerbitan ini terdapat dalam koleksi berikut

Tunjukkan penerbitan mudah