Show simple item record

Share 
 
dc.date.accessioned2018-02-09T03:02:28Z
dc.date.available2018-02-09T03:02:28Z
dc.date.issued2007
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/146
dc.description.abstractความพยายามของศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในการผลักดันการทำประมงอย่างยั่งยืนด้วยความหวังว่าจะสามารถค้นหาแหล่งทรัพยากรประมงที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ ดังเช่นในการศึกษาเรื่องหมึกน้ำลึก ซึ่งเป็นแหล่งโปรตีนที่ยังคงมีปริมาณอยู่มาก ในประเทศญี่ปุ่นนั้นแหล่งอาหารแหล่งนี้ได้รับการสำรวจอย่างกว้างขวาง ในขณะที่ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์นี้ยังอยู่ในระยะเริ่มต้นการวิจัยกันเท่านั้น การศึกษาหมึกน้ำลึกนี้ได้ศึกษาการประมงหมึกในภูมิภาคประเภทของเครื่องมือประมงที่ใช้ และความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาสมรรถนะในการทำประมงหมึกน้ำลึกพันธุ์ต่างๆ ประเด็นที่ได้รับการวิจัยนั้นนอกเหนือจากประเด็นทางด้านเทคโนโลยีแล้วยังได้มองไปถึงทิศทางในอนาคตอีกด้วย ด้วยเหตุนี้จึงกล่าวได้ว่าการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ศึกษานี้ได้เปิดโลกทัศน์ใหม่ๆ ให้กับการพัฒนาการประมงได้อย่างแท้จริง วิธีการที่ใช้ในการจับหมึกน้ำลึกมาใช้ประโยชน์ แม้จะไม่ใช่วิธีการใหม่ล่าสุดแต่ก็เป็นวิธีที่จับได้เฉพาะเจาะจง ต้นทุนและเป็นเทคโนโลยีประมงที่มีความรับผิดชอบ งานวิจัยหมึกน้ำลึกนี้ได้รับการวิจัยอย่างละเอียดลึกซึ้งและครบถ้วนได้สร้างมิติใหม่ๆ ให้กับการทำประมงน้ำลึกและช่วยคลายความกดดันเรื่องการเสื่อมถอยของสัตว์เศรษฐกิจในการทำประมงได้ในระดับหนึ่งen
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectเครื่องตกหมึกอัตโนมัติen
dc.subjectหมึกน้ำลึกen
dc.titleหมึกน้ำลึกกับการใช้เครื่องตกหมึกอัตโนมัติth
dc.typeOtheren
dc.contributor.corporateauthorศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, สำนักงานฝ่ายฝึกอบรมth


Files in this item

FilesSizeFormatView
SEAFDEC_2007_op-squidJigging.pdf489.4Kbapplication/pdfView/Open

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record