SEAFDECINSTITUTIONAL REPOSITORY
    • English
    • ไทย
    • 日本語
    • Bahasa Indonesia
    • Bahasa Melayu
    • Burmese
    • Filipino
    • Khmer
    • Lao
    • Tiếng Việt
  • English 
    • English
    • ไทย
    • 日本語
    • Bahasa Indonesia
    • Bahasa Melayu
    • Burmese
    • Filipino
    • Khmer
    • Lao
    • Tiếng Việt
  • Login
View Item 
  •   SEAFDEC Institutional Repository (SIR)
  • 01 SEAFDEC Publications
  • 04 Technical Publications and Reports on Fishery Management and Enhancement
  • Indicators and Target Reference for Management
  • SEAFDEC/TD
  • View Item
  •   SEAFDEC Institutional Repository (SIR)
  • 01 SEAFDEC Publications
  • 04 Technical Publications and Reports on Fishery Management and Enhancement
  • Indicators and Target Reference for Management
  • SEAFDEC/TD
  • View Item
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

โครงการปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง: การปรับเปลี่ยนขนาดตาอวนพื้นท้องลอบปูม้า ตำบลปากคลอง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร

Thumbnail
View/Open
TDRES86_Gear_CrapTrap.PDF (1.608Mb)
Date
2004
Author
เพชรกำเนิด, จินดา
โรจนะรัตน์, ถาวร
รัตนพรหม, จิราภรณ์
ไชยแก้ว, ขวัญฤทัย
Page views
166
Metadata
Show full item record

Share 
 
Abstract
การติดตามผลการปรับเปลี่ยนขนาดตาอวนพื้นท้องลอบปูม้าบริเวณตำบลปากคลอง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร ตั้งแต่เดือนมกราคม 2546 - พฤษภาคม 2547 พบว่ามีจำนวนครัวเรือนที่ทำการประมงลอบปู 20 ครัวเรือน พบมากที่บ้านท่าแอตซึ่งใช้เรือหางยาวขนาด 6-11 เมตร เครื่องยนต์ 5-13 แรงม้า ชาวประมงลอบปูมีการทำการประมงหนาแน่นในแหล่งน้ำตื้นตามแนวชายฝั่งความลึก 2-5 เมตร บริเวณหน้าเกาะเตียบ เกาะพระ เกาะเอียง ขนาดความกว้างกระดองเฉลี่ย 8.98 เซนติเมตร โดยมีจำนวนตัวที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ได้ร้อยละ 4.2 หลังการปรับเปลี่ยนมีความกว้างกระดองเฉลี่ย 9.06 เซนติเมตร โดยมีจำนวนตัวที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ได้ร้อยละ 4.18 ปูม้าเพศเมียที่จับได้ก่อนปรับเปลี่ยนมีความกว้างกระดองเฉลี่ย 8.71 เซนติเมตร โดยมีจำนวนตัวที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ (9.74 เซนติเมตร) โดยมีจำนวนตัวที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ร้อยละ 54.28 หลังการปรับเปลี่ยนมีความกว้างกระดองเฉลี่ย 9.00 เซนติเมตร โดยมีจำนวนตัวที่มีขนาดเล็กกว่าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ์ได้ร้อยละ 51.98 ดังนั้นการปรับเปลี่ยนขนาดตาอวนพื้นท้องลอบปูมีผลทำให้การใช้ประโยชน์เป็นไปอย่างเหมาะสมคุ้มค่ามากขึ้น และลดผลกระทบต่อทรัพยากรปูม้าลง

การรวมกลุ่มของชาวประมงลอบปูเพื่อการปรับเปลี่ยนพื้นท้องลอบจาก 1.2 นิ้ว เป็น 2.5 นิ้ว พบว่าในปี 2547 มีสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 21 คน จากสมาชิกเริ่มแรกเพียง 13 คน ในปี 2546 นอกจากนั้นชาวประมงลอบปูในพื้นที่โครงการฯ ทุกครัวเรือนได้ปรับเปลี่ยนมาใช้ลอบปูพื้นท้องลอบ 2.5 นิ้ว แทน 1.2 นิ้วซึ่งใช้มาแต่เดิม
URI
http://hdl.handle.net/20.500.12067/582
Suggested Citation
เพชรกำเนิด, จ., โรจนะรัตน์, ถ., รัตนพรหม, จ., & ไชยแก้ว, ข. (2547). โครงการปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง: การปรับเปลี่ยนขนาดตาอวนพื้นท้องลอบปูม้า ตำบลปากคลอง อำเภอปะทิว จังหวัดชุมพร. สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
Subject
การปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง; ขนาดตาอวน; ลอบปู
Collections
  • SEAFDEC/TD [85]

© SEAFDEC 2023
Contact Us
 

 

Browse

All of SIRCommunities & CollectionsBy Issue DateAuthorsTitlesSubjectsThis CollectionBy Issue DateAuthorsTitlesSubjects

My Account

LoginRegister

Statistics

View Usage Statistics
Related Links
SEAFDEC/TD IRSEAFDEC/AQD IRSEAFDEC/MFRDMD IRSEAFDEC/IFRDMD IR

© SEAFDEC 2023
Contact Us